News, ข่าวเด่น, สื่อเผยแพร่, เอกสารประกอบการประชุม

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสุราระดับชาติ ครั้งที่ 11

วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

ปาฐกถาพิเศษ

“กลไก สสส. กับการขับเคลื่อนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทย” โดย ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
กลไก-สสส.-ในงานควบคุมแอลกอฮอล์ในประเทศไทย_

การบรรยายพิเศษ 1

“Effectiveness of alcohol control policies and the ways forward for Thailand”
Speaker: Professor David Jernigan, Boston University School of Public Health, Department of Health Law, Policy & Management
Prof.David-Thailand-November-2020

Jernigan-Thailand-November-2020_Translated

การอภิปราย 1: “บทเรียนสิบสองปีของการดาเนินงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สู่แผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับที่สอง”

ภาควิชาการ: ศ.ดร.พญ.สาวิตรี อัษณางค์กรชัย ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยปัญหาสุรา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ศ.ดร.พญ.สาวิตรี-อัษณางค์กรชัย-12-year-alcohol-strategies-NAC11-25Nov2020

ภาคนโยบาย: นพ.นิพนธ์ ชินานนท์เวช ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
251163-นพ.นิพนธ์-ชินานนท์เวช

ภาคประชาชน: นายธีระ วัชรปราณี ผู้จัดการสำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า
คุณธีระ-วัชรปราณี-มองไป-7-ปีข้างหน้า

ถาม-ตอบประเด็นร้อนในสังคมไทย 1: ภาระทางสุขภาพและภาระทางสังคมจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

“แอลกอฮอล์กับสุขภาพร่างกาย” โดย ผศ.นพ.ทยา กิติยากร คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
รศ.นพ.มล.ทยา-กิติยากร-แอลกอฮอล์-กับสุขภาพร่างกาย

“ภาระทางสุขภาพจิตในผู้ดื่มสุรา” โดย ศ.พญ.สุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อ.สุวรรณา-ภาระทางสุขภาพจิตในผู้ดื่มสุรา

ภาระทางเศรษฐกิจและมาตรการทางภาษีในการควบคุมการดื่มสุรา โดย ผศ.ดร.นพ.อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
20-11-25-Udomsak-Alcohol-consequences

ความรุนแรงในบ้านและนอกบ้าน ความรุนแรงบนสื่อออนไลน์ ภัยเหล้าต่อคนที่ไม่ดื่ม โดย ดร.วิทย์ วิชัยดิษฐ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Wichaidit-Presentation-20201118_handout

ผลกระทบของการดื่มสุราของพ่อแม่และญาติผู้ใหญ่ต่อการดื่มสุราของลูกหลาน โดย รศ.พญ.รัศมน กัลยาศิริ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ.รัศมน-Alcohol_supply

มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการดื่มสุรา โดย ดร.ณัชชา สุขะวัธนกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อ.ณัชชา-Infographic-วิจัยพื้นที่สาธารณะ

วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

การบรรยายพิเศษ 2

“From SAFER to FCAC: an important step of the global alliance”
Speaker: Professor Sally Casswell, Director, SHORE (Centre for Social and Health Outcomes Research and Evaluation), Massey University, Auckland, New Zealand
Prof.Sally-Thai-Nat-Conf-2020_

Thai-Nat-Conf-2020_Translated_Full

“จาก SAFER สู่ FCAC: ก้าวเดินของประเทศไทยในฐานะผู้นาโลก” โดย นพ.ทักษพล ธรรมรังสี รองเลขาธิการมูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
นพ.ทักษพล-NAC2020-Road-to-FCAC-Mek-18-11-20-Thai

ถาม-ตอบประเด็นร้อนในสังคมไทย 2: Alcohol marketing and sales in disruptive era

สถานการณ์การเข้าถึงสุรา” ในยุคปัจจุบัน: ความน่าเป็นห่วงของสังคมไทย โดย รศ.ดร.สุรศักดิ์ ไชยสงค์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อ.สุรศักดิ์-สถานการณ์การเข้าสุรา_v2

ขายและโฆษณาในช่องทางออนไลน์: เมื่อการขายเหล้าแพร่ระบาดในสังคม โดย คุณกนิษฐา ไทยกล้า สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ.กนิษฐา-ไทยกล้า-Infoขายและโฆษณาในช่องทางออนไลน์_เมื่อการขายเหล้าแพร่ระบาดในสังค-1

การตลาดเหล้าในยุคปัจจุบัน: ถอดรหัสการสื่อสารการตลาดของอุตสาหกรรมสุราผ่านอารมณ์และวิถีชีวิตคนไทย โดย นายวิษณุ ศรีทะวงศ์ ผู้จัดการแผนงาน มูลนิธิเครือข่ายพลังสังคม
คุณวิษณุ-นำเสนอ-สุราวิชาการ-ช่วง-แก้ว

การใช้ Brand DNA ของธุรกิจน้าเมา: ปัญหาการตีความและข้อจากัดของ พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดย นายไพศาล ลิ้มสถิตย์ กรรมการบริหารศูนย์กฎหมาย สุขภาพและจริยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คุณไพศาล-ลิ้มสถิตย์-การใช้-Brand-DNA-ของธุรกิจน้ำเมา

เมื่อแอลกอฮอล์เป็นสินค้าในการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ: ใครได้ ใครเสีย โดย ศ.ดร.นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
slide-นำเสนอ-26-พย.63

ประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมโฆษณาต่อการลดปัญหาจากการดื่มสุราในประเทศไทย โดย ดร.นพ.บัณฑิต ศรไพศาล Project Scientist, Centre for Addiction and Mental Health, Toronto, Canada
นพ.บัณฑิต-ศรไพศาล_National-alcohol-conference-2020-Nov-26_ประสิทธิผล-ม.32

News, ข่าวเด่น, สื่อเผยแพร่, เอกสารประกอบการประชุม

เอกสารประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานวิจัยเชิงสำรวจและเชิงคุณภาพในกลุ่มประชากรที่เข้าถึงยาก

เอกสารประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานวิจัยเชิงสำรวจและเชิงคุณภาพในกลุ่มประชากรที่เข้าถึงยาก

วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2563 ผ่านระบบ Zoom Cloud Meeting

เทคนิคการสำรวจในกลุ่มประชากรที่เข้าถึงยาก

โดย อ.กนิษฐา ไทยกล้า สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

JJเทคนิคการสำรวจในกลุ่มประชากรที่เข้าถึงยาก

หนังสือที่เกี่ยวข้อง (ดาวน์โหลดผ่านการ Scan QR code)

รูปหนังสือและ-QR

ข้อคำนึงทางจริยธรรมในการวิจัยในประชากรกลุ่มซ่อนเร้น

โดย รศ.พญ.รัศมน กัลยาศิริ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้จัดการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด

Ethics_hiddenPopulation

สื่อเผยแพร่, เอกสารประกอบการประชุม

เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการ “การดูแลและป้องกันปัญหาการดื่มสุราในเด็กและเยาวชน”

ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.) ร่วมกับ สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า (สคล.) จัดการสัมมนาวิชาการ “การดูแลและป้องกันปัญหาการดื่มสุราในเด็กและเยาวชน” เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2563

ข้อค้นพบและประสบการณ์ตีพิมพ์จากงานวิจัย ก. อาการซึมเศร้า เพศสภาพ และพฤติกรรมการดื่มสุราในวัยรุ่นไทย (ข้อค้นพบจากโครงการสำรวจพฤติกรรมการดื่มสุราฯ ปี 2559) โดย ดร.วิทย์ วิชัยดิษฐ

Wichaidit-Ver2-20200804-ww-sa-1

ข้อค้นพบจากงานวิจัย ข. ผลของความสัมพันธ์ในครอบครัว สมรรถนะส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อมทางสังคมต่อปัญหาการดื่มสุราของวัยรุ่นไทย (ข้อค้นพบจากโครงการศึกษาติดตามนักเรียนมัธยมในประเทศไทยปี 2561 และ ปี 2562) โดย รศ.พญ.รัศมน กัลยาศิริ

200805DrinkingPreventionTeenager-2

บทเรียนจากการทำงานกับเด็กและวัยรุ่นในการสร้างเสริมและป้องกันปัญหาการดื่มสุรา โดย คุณธีระ วัชรปราณี

Presentation1-เยาวชน-1

แนวทางที่มีประสิทธิภาพในการดูแลและป้องกันปัญหาการดื่มสุราในเด็กและวัยรุ่น โดย ผศ.ดร.พญ.รัศมี สังข์ทอง

Alc-cohort_yr2_-1

งานส่งเสริมป้องกันและดูแลเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาจากการดื่มสุราและปัญหาพฤติกรรมในประเทศไทย โดย พญ.ดุษฎี จึงศิรกุลวิทย์

การส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตวัยรุ่น-สิงหาคม-2563-1

News, ข่าวเด่น, สาระที่น่าสนใจ, สาระน่ารู้, สื่อเผยแพร่, หนังสือ, เอกสารประกอบการประชุม

แนวทาง ลด ละ เลิกเหล้ากันเถอะ การดูแลเชิงรุกในชุมชนสำหรับผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ฉบับประชาชน

เอกสารแนะนำ แนวทาง ลด ลด เลิกเหล้ากันเถอะ การดูแลเชิงรุกในชุมชนสำหรับผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ฉบับประชาชน

book_เล่ม-1_เอกสารแนะนำ-1

คู่มือผู้ช่วยเหลือ ตามแนวทาง “ลด ละ เลิกเหล้ากันเถอะ” การดูแลเชิงรุกในชุมชนสำหรับผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ฉบับประชาชน

Book_เล่ม-2_คู่มือ-1

แบบบันทึก “ลด ละ เลิกเหล้ากันเถอะ”

โปสเตอร์ เตรียมตัวดี ไม่มีดื่ม

ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนเข้าร่วมแนวทาง “ลด ละ เลิกเหล้ากันเถอะ”

สื่อเผยแพร่, เอกสารประกอบการประชุม

การสัมมนาวิชาการ นโยบายแอลกอฮอล์ในยุคโควิด-19

การสัมมนาวิชาการ นโยบายแอลกอฮอ์ในยุคโควิด-19

ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.) จัดการสัมมนาวิชาการ นโยบายแอลกอฮอล์ในยุคโควิด-19 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ผ่านระบบ Zoom Video Conference

เอกสารประกอบการสัมมนา

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย และต่างประเทศ และผลพ่วงต่อการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

สถานการณ์ของโควิดและผลพวงต่อการควบคุมเค-1

ผลกระทบของวิกฤติโควิด-19 ต่อการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย

20-05-18-Udomsak-Alcohol-situation-1

สถานการณ์เด่นและบทเรียนนโยบายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในยุคโควิด-19 จากทั่วโลก

Orratai-Alcohol-policy-during-covid-crisis-1

แนวทางการปรับตัวเข้าสู่ new normal ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบไทยๆ

นำเสนอ-18-พค63

ความท้าทายและโอกาสการพัฒนาในการทำงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของภาครัฐในยุคโควิด-19

18052563-ความท้าทายและโอกาสการพัฒนา

ความท้าทายและโอกาสการพัฒนาในการทำงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของภาคประชาสังคมในยุคโควิด-19

ความท้าทายและโอกาสการพัฒนาในการทำงานควบ-1

สื่อเผยแพร่, เอกสารประกอบการประชุม

การสัมมนา แนวทางการดูแลผู้ติดตามสุราในชุมชนในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19

การสัมมนา แนวทางการดูแลผู้ติดตามสุราในชุมชนในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19

เมื่อวันอังคารที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ผ่านทาง Zoom Video Conference จัดโดย ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.)

เอกสารประกอบการสัมมนา

CM-presentation-to-CAS-1

PK_Alcohol-Intervention-in-community

Hunsa-การดูแลเชิงรุกในชุมชน

นำเสนอ-อ.สาวิตตรี-คัดกรอง

สื่อเผยแพร่, เอกสารประกอบการประชุม

การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความสื่อสารเชิงนโยบายและสังคม”

วันที่ 8-9 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมเอทัส ลุมพินี กรุงเทพมหานคร

ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา ได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความสื่อสารเชิงนโยบายและสังคม” โดยได้รับเกียรติจาก นพ.วิวัฒน์ โรจนพิทยากร ศ.นพ.ไพบูลย์ สุริยวงศ์ไพศาล และ ดร.นพ.ทักษพล ธรรมรังสี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์แก่ผู้เข้าร่วมการประชุม ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 40 ท่าน ที่เป็นทั้งนักวิจัย นักวิชาการ ภาคประชาสังคม ภาคีเครือข่ายที่ทำงานด้านการรณรงค์

วิทยากรทั้ง 3 ท่าน ได้เตรียมเอกสารประกอบการประชุม ดังนี้

Privacy Settings
We use cookies to enhance your experience while using our website. If you are using our Services via a browser you can restrict, block or remove cookies through your web browser settings. We also use content and scripts from third parties that may use tracking technologies. You can selectively provide your consent below to allow such third party embeds. For complete information about the cookies we use, data we collect and how we process them, please check our Privacy Policy
Youtube
Consent to display content from - Youtube
Vimeo
Consent to display content from - Vimeo
Google Maps
Consent to display content from - Google
Spotify
Consent to display content from - Spotify
Sound Cloud
Consent to display content from - Sound

Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors